-------------------------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------------------------

ลงโฆษณา

วันพุธที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2554

การพูดให้คนไม่ประมาท

การพูดให้ไม่ประมาทการพูดให้คนไม่ประมาทคุณพูดกับน้องชายว่า “ขับรถให้ดีๆ นะ แต่ถ้าเกิดไปเฉียวไปชนใครก็ไม่ต้องกลัว ยิ่งชนกันบ่อยๆ นั่นแหละจะได้มีประสบการณ์มากขึ้น อย่าตกใจละถ้าไปชนเฉี่ยวกับใคร” ในการพูดที่เหมือนว่าจะส่งเสริมว่าความผิดพลาดอาจจะเกิดขึ้นได้ไม่ต้องกลัวนั้น ยิ่งกลับทำให้ผู้ฟังต้องระมัดระวังจะยึดเอาคำพูดนั้นไปเตือนใจอย่างเคร่งครัดทีเดียว เพราะเมื่อได้ฟังเช่นนั้นก็ยิ่งกลัวจะเกิดความผิดพลาด

ความไม่ประมาณและความระมัดระวังก็จะยิ่งเกิดขึ้นมากกว่าที่จะถูกกำชับบ่อยๆ ว่าอย่าให้เกิดความผิดพลาด

ตัวอย่างเช่น

“ทำดีๆ นะอย่าให้พลาดละ” หรือ “ระวังตัวให้ดีๆ นะ อย่าประมาทเดี๋ยวจะเกิดเรื่องได้” การสั่งกำชับกำชาเพื่อให้มีเกิดความผิดพลาดนั้น ดูเหมือนว่าจะเป็นเรื่องที่มีผู้พูดผู้สั่งมากมายตลอดเวลา โดยที่ฝ่ายตรงข้ามซึ่งเป็นผู้ฟังนั้นจะเพียงฟังไวในหูแต่มิได้ตระหนักหรือสำนึกในคำพูดนั้นแต่อย่างใด

พูดง่ายๆ ก็คือยิ่งกำชับยิ่งสั่งเช่นนั้นก็เหมือนกับพูดให้เข้าหูซ้ายทะลุหูขวา ผู้ที่เป็นผู้ฟังไม่ได้มีความกระตือรือร้นหรือยึดมั่นปฏิบัติตามคำพูดคำเตือนนั้นอย่างเคร่งครัดนั่นเอง

สิ่งที่อาจสนใจ

blog interesting : ช้อปปิ้ง เครื่องประดับ เสื้อผ้า,เคล็ดลับง่ายๆ...ช่วยเพิ่ม ความจำดี

0 ความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น